เทียบหมัดต่อหมัด  RISE พหลฯ-อินทามระ vs LPN Selected สุทธิสาร-สะพานควาย

เทียบหมัดต่อหมัด 
RISE พหลฯ-อินทามระ

vs
LPN Selected สุทธิสาร-สะพานควาย

ภารกิจแรกของนักสืบอสังหา คือการสืบเสาะเจาะลึก 2 คอนโดใหม่ ที่มายึดพื้นที่เส้นถนนสุทธิสาร ตัดผ่านพหลโยธิน (สะพานควาย)ไปยังวิภาวดีรังสิต คนโซนนี้จะรู้ดีว่า นี่คือโซน “อินทามระ ” ที่แต่เดิม ไม่ได้มีเจ้าใหญ่ๆมาสร้างคอนโดตึกสูงมาก่อน…แต่การมาทั้งที ก็ไม่มาแบบเรียบๆ เพราะ 2 เจ้าคอนโด พร้อมชนกันทั้งราคาและจำนวนยูนิต แบบไม่ทิ้งห่างกันเท่าไร และวันเปิดจองพร้อมกัน 28 เม.ย. 61 ที่ผ่านมา จึงเป็นจุดสนใจให้เรามาสืบหาคำตอบว่า คอนโดโซนนี้ ไปรอดจริงมั้ย ? และเจ้าไหนมาเหนือกว่า?ฝ่ายแดง RISE พหลฯ-อินทามาระ โดย All Inspire (น้องใหม่ของวงการ)
ฝ่ายน้ำเงิน  LPN Selected สุทธิสาร-สะพานควาย โดย LPN (พี่ใหญ่ชุมชนน่าอยู่)

วิเคราะห์เทียบหมัดต่อหมัด โดย “นักสืบอสังหา” 

Location : ไม่ได้มีความแตกต่างกันมากนักเพราะอยู่ใกล้กัน ห่างเพียง 70 เมตร 
พิกัด RISE (คลิก)    พิกัดLPN  (คลิก)
Developer : ความน่าเชื่อของ LPN มีมากกว่า All Inspire เพราะชื่อเสียงที่สร้างมานานของ LPN โดยเฉพาะเรื่อง ชุมชนน่าอยู่ ซึ่งต่างจาก All Inspire ที่เพิ่งเข้ามาวงการนี้ได้ไม่นาน (แต่ก็ถือว่าเป็นน้องใหม่ไฟแรงที่มาแรงเหมือนกัน)พื้นที่โครงการ : พื้นที่โครงการน่าจะใกล้เคียงกัน ซึ่งหากมีข้อมูลอัพเดตของ All Inspire อัพเดตอีกครั้งจำนวนยูนิต : จำนวนยูนิตรวมใกล้เคียงกัน ก็ถือว่าไม่ได้เยอะมาก แต่ความ Private ของ Rise มีความเป็นส่วนตัวกว่าเพราะยูนิต/ชั้นน้อยกว่ารูปแบบ/ขนาดห้องชุด : ต้องบอกเลยว่าคู่นี้เค้าจัดวางขนาดห้องออกมาชนกันแบบตรงตัวทั้งขนาดห้องเล็กสุด (25 ตร.ม.) และห้องที่เป็น Mode ของโครงการ (31 ตร.ม.) ต้องมาดูกันว่า Function ห้องแบบไหนที่โดนใจลูกค้า Plan Studio : เทียบ Function ห้อง Studio แล้ว Rise รูปแบบ Function น่าจะถูกใจลูกค้ามากกว่า เนื่องจากเป็น Plan หน้ากว้าง และมีการแบ่งฟังก์ชั่นห้องชัดเจนมากกว่าของ LPN และรูปแบบครัวเป็นแบบปิด ซึ่งตอบโจทย์คนทำงานที่ชอบทำครัว แต่ไม่ชอบกลิ่นเข้าห้องPlan 1 Bed : ต้องบอกเลยว่าทั้ง 2 ค่ายนี้พยายาม Design รูปแบบ Function ห้องให้ออกมาเป็น Plan ฟังก์ชั่นใหม่ โดยของ LPN ต้องการตอบโจทย์ลูกค้าผู้หญิง จึงปรับ Function ห้องนั่งเล่นให้เป็น Walk in Closet สำหรับแต่งตัว นั่งเล่นอยู่ในห้องนอน ครัวแบบเปิด นั่งทานข้าวในห้องนอน ส่วนของ Rise เองพยายาม Design ครัวแบบปิดและอยู่ด้านหน้าทางเข้า และนำพื้นที่ Living เข้าไปอยู่ในห้องนอน จุดขายระเบียงในห้องนอนหรือห้องนั่งเล่นเท่านั้น ความเห็นส่วนตัวมองว่า ทั้ง 2 ค่ายทำ Plan ออกมาไม่ค่อยตอบโจทย์ลูกค้าครบถ้วนเท่าไหร่ มีเพียงบาง Function เท่านั้นที่ตอบโจทย์ ต้องรอดู Feedback ต่อไป ตอนห้องตัวอย่างของ Rise เสร็จว่าจะจัดออกมาได้ดึงดูดใจหรือไม่Floor To Ceiling : Rise สูงกว่า LPN แต่หากความเห็นส่วนตัวแล้วไม่ได้ต่างกันเยอะ เพราะเดี๋ยวนี้เค้าทำกัน 2.7 m. ถึงจะดูว๊าวราคา : ราคาของ Rise ตอนเปิดตัวถูกกว่า LPN แต่เมื่อ LPNมีการปรับราคาเป็น One Price ต้องบอกเลยว่า LPN คือดูน่าสนใจเลยทีเดียว ตอนที่ LPN ยังไม่ได้ปรับราคาต้องบอกเลยว่าเป็นห่วงกับราคามาก และดูแนวโน้มแล้วทาง Rise ได้เปรียบเรื่องราคาที่จูงใจ แต่พอ LPN ปรับราคามา ทำให้ลูกค้าเริ่มลังเลใจเพราะอะไรหรอ เพราะว่าราคาใกล้เคียงกันแล้วนะสิ คราวนี้ต้องรอดูว่า Rise จะแก้เกมส์ต่อไปยังไงในรอบเปิดจอง VVIP วันที่ 2-3 มิ.ย.61โปรโมชั่น : ต้องบอกว่างานนี้ LPN ทุ่มโปรโมชั่นไม่อั้นให้แบบที่ไม่เคยให้มาก่อน ส่วนของ Rise ก็ตามราคาเนอะถูกกว่าแต่ก็ไม่ครบผ่อนดาวน์ : LPN ผ่อนดาวน์ถูกกว่าและโครงการเสร็จเร็วกว่าของ Rise ซึ่งต้องบอกว่า LPN เรื่องงานก่อสร้างสร้างรวดเร็วกว่า ส่วนของ Rise เป็นน้องใหม่และเพิ่งทำตึกสูงเป็นตึกแรกต้องรอติดตามกันอีกทีกำหนดสร้างและเสร็จ : LPN เริ่มสร้างเร็วกว่า Rise เพราะ EIA น่าจะ Approved แล้วส่วนของ Rise กำลังรอพิจารณาอยู่ที่จอดรถ : น่าสนใจที่ Rise ให้ที่จอดรถมากกว่า LPN แถมเป็นแบบ Auto Parking อีกต่างหาก ถ้าให้คะแนนภาพรวมอันนี้คงมากสุดชั้นที่เปิดจองวันที่ 28 เม.ย.61 : ทางเราคิดว่าจำนวนเปิดจองของ Rise น้อยไปหน่อย ซึ่งไม่แปลกที่จะ Sold Out อาจเพราะ Rise ข้อมูลยังไม่นิ่ง (เห็นได้จากตำแหน่ง 1,15 และ 18 ยังไม่ระบุแบบห้อง) คงรีบเพื่อดัก LPN ทำให้ไม่กล้าที่จะเปิดขายหมด ส่วน LPN ถือว่าเปิดเยอะ เพราะเปิดขาย 65% จากทั้งหมด เอาจริงๆ นะใครเปิดก่อนได้เปรียบและต้องปังตั้งแต่เปิดครั้งแรก ซึ่งถือว่า LPN ทำได้ดียอดขาย ณ 28 เม.ย.61 : ยอดขายของ LPN ถือว่าประสบความสำเร็จมากกว่าก็ต้องรอดูรอบ VVIP ของ Rise ต่อไป หากเปิดครบแล้ว Sold Out จะถือว่าเค้าทำมาได้ดี แต่ถ้าไม่ก็สรุปได้เลยว่าศึกครั้งนี้ LPN ชนะสรุปแผน Timeline ของการแข่งขันทั้ง 2 เจ้าอีกครั้ง โดยข้อมูลนี้ เป็นข้อมูลถึงวันที่ 28 เม.ย. 61 เท่านั้น                   หากมีอัพเดท ทีมนักสืบอสังหา จะไม่พลาดรายงานความเคลื่อนไหวแน่นอน ฝากติดตามด้วยครับ

Facebook : www.facebook.com/SpyEstates

Website : www.spyestates.com

0ความคิดเกี่ยวกับ“เทียบหมัดต่อหมัด  RISE พหลฯ-อินทามระ vs LPN Selected สุทธิสาร-สะพานควาย”

  1. пруды

    Как сделать японский фонтан тсукубаи для сада своими руками.
    Тсукубаи – это традиционный японский фонтан, который использовался буддийскими монахами для омовения рук. Еще он был неотъемлемой частью чайной церемонии. Его изготавливали из цельного камня, а вода поступала через бамбуковую трубочку.
    Сейчас такой фонтанчик используют как элемент декора и украшения сада в японском стиле. Он задает настроение покоя и настраивает на созерцание.
    Что понадобится, чтобы сделать японский фонтанчик своими руками.
    пластиковая емкость литров на 40-50, бамбук, бетонный сосуд “каменная чаша”, погружной насос производительностью около 80 литров в час, гибкая трубка для подачи воды, сетка из нержавейки, кабель с розеткой.
    Чертеж – схема фонтанчика тсукубаи.
    Ход работы.
    Первоначально нужно выкопать яму для резервуара воды, куда будет устанавливаться погружной насос. Насос должен быть слабым, т.к. если давление высокое, не будет тихого шепота воды. Производительности 80 л/ч хватит.
    Второй элемент фонтанчика – каменная чаша, которую можно самостоятельно сделать из бетона (я уже писала об этом здесь) и третий – конструкция из бамбуковых трубочек. Вы можете сделать любой вариант. Красиво, когда вода переливается из одной трубочки в другую.
    В яму устанавливается пластиковая емкость, в нее – насос, а сверху накрываем все сеткой из нержавейки. Насос соединяем с гибким шлангом необходимой длины и выводим его через конструкцию из бамбука, которую устанавливаем рядом с чашей.
    Для электрического кабеля нужно прорыть канавку.
    Сетку маскируем галечными камушками и расставляем декративно камни вокруг. Очень дополнит такой фонтан каменный фонарь размещенный по соседству.
    Уход за фонтанчиком.
    Летом нужно контролировать уровень воды в резервуаре. Не допустимо, чтобы насос работал “на сухую”. Поэтому раз в несколько дней воду подливаем. Периодически нужно вынимать насос и промывать его элементы.
    На зиму всю конструкцию убираем в сухое место.

    строительство прудов под ключ
    Чтобы создать пруд на участке – лучше обратиться к профессионалам. Рекомендуем одну из ведущих профильных компаний в России – СУПЕРПРУД.

    Подробную информацию можно узнать на сайте:
    устройство водоемов в саду
    ланшафтный дизайн участка
    Также, наверняка Вам будет интересно:
    фонтан садовый декоративный купить
    альпийская горска с водоемом
    устройство гидроизоляции пруда
    Рекомендуем!

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *